แถบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
รังสีแกมมา (Gamma
Ray) และรังสีเอกซเรย (X-ray) จะถูกดูดกลืนทั้งหมดโดย
บรรยากาศชั้นบน
จึงมิไดนํามาใชในงานสํารวจขอมูลระยะไกล ชวงคลื่นที่มักนํามาใช
ในการทํางานของระบบรีโมทเซนซิงคือชวงคลื่นที่มองเห็นได
(Visible Rays) ไดแกชวงคลื่น
ที่มีความยาวระหวาง 0.4-
0.7 ไมโครเมตร (ℵm ) ซึ่งประกอบไปดวยชวงคลื่นสีมวง คราม น้ําเงิน
เขียว เหลือง
แสด และแดง ซึ่งสามารถแบงออกเปนกลุมแมสีหลัก คือ น้ําเงิน เขียว และแดง
จัดไดวาเปนแมสีแสงธรรมชาติที่สามารถนําไปผสมผสานใหเกิดสีขึ้นมาอีกมากมาย
จากการศึกษาพบวา
ชวงคลื่น อินฟราเรดใกล และ ชวงคลื่นอินฟราเรดกลาง เหมาะ
สําหรับนํามาใชในการศึกษาดานธรณีวิทยา
ชวงคลื่น อินฟราเรดไกล มักใชในการศึกษา
เกี่ยวกับอุณหภูมิของวัตถุ
เชน ใชในการศึกษาอุณหภูมิพื้นผิวน้ํา และอุณหภูมิผิวดิน
ในชวงเวลาตาง
ๆ กัน และชวงคลื่น “ไมโครเวฟ” ใชมากในระบบถายภาพที่สามารถสราง
พลังงานขึ้นเองได
เชน ระบบ SAR (Synthetic Aperture Radar)
ลักษณะของการตรวจวัด
รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในระบบการตรวจวัดจากระยะไกล
การสะท้อนคลื่นรังสีของพืชพรรณ ดิน และน้ำ
พืช ดินและน้ำ เป็นวัตถุปกคลุมผิวโลกเป็นส่วนใหญ่ การสะท้อนพลังงาน
ที่ความยาวช่วงคลื่นต่างกันของพืช ดินและน้ำ จะทำให้สามารถแยกประเภทของวัตถุชนิดต่างๆ ได้
ลำดับการสะท้อนในช่วงคลื่นที่ตามองเห็นได้ คือ ดิน >พืช
> น้ำ
ส่วนลำดับการสะท้อนในช่วงคลื่นอินฟาเรด คือ พืช >ดิน
> น้ำ
อ้างอิงรูปภาพ :
https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEh54AlQSRDFLf6QYIkRtpTvt7djvJIdiixyUjJoU_yBBMmunbRB7JuzRgOhRSUDeLk2RRKZUlr9ErTqwTEsTTHcsudeaIYRqiT7d8KR_lAsX23vBeaABrq-nRV7HCkqn_2uyUaMsU31yEb7/s1600/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E20.png
https://plus.google.com/photos/116164712634227452921/albums/5648700663804364529/5672158338640687010?pid=5672158338640687010&oid=116164712634227452921
http://brecosmeticlab.com/images/lht.jpg