เทคโนโลยีการสํารวจทรัพยากรดวยดาวเทียม หรือการสํารวจขอมูลจากระยะไกล
(Remote Sensing) ในประเทศไทย ไดเริ่มขึ้นอยางจริงจัง
ตั้งแต ป พ.ศ. 2514 โดย คณะรัฐมนตรีไดมีมติแตงตั้งคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการประสานงานกองสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม
ประกอบดวยกรรมการผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงานตางๆ
รวมทั้งไดอนุมัติใหเขารวมโครงการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม
ขององคการบริหารการบินและอวกาศแหงชาติ (NASA) ในการใชประโยชนขอมูลดาวเทียมสํารวจทรัพยากร
ดวงแรก ไดแก LANDSAT-1 โดยตั้งเปนโครงการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม
ภายใต สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ
ซึ่งตอมาภายหลังไดรับการยกฐานะขึ้นเปนกองสํารวจทรัพยากรธรรมชาติดวยดาวเทียม
ในป พ.ศ. 2522 และโดยที่ไดมี หนวยงานตาง ๆ นําเอาขอมูลดาวเทียมไปใชประโยชนอยางกวางขวาง
ดังนั้น ครม. จึงไดอนุมัติให สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ จัดตั้งสถานีรับสัญญาณดาวเทียมสํารวจทรัพยากร ขึ้นมาในปพ.ศ. 2523 เพื่อทำหนาที่ในการรับและผลิตขอมูลดาวเทียม นับเปนสถานีแหงแรกในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต โดยในปจจุบันกิจกรรมเหลานี้ไดโอนไปอยูภายใตหนวยงาน "สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) ซึ่งตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
ในป พ.ศ. 2522 และโดยที่ไดมี หนวยงานตาง ๆ นําเอาขอมูลดาวเทียมไปใชประโยชนอยางกวางขวาง
ดังนั้น ครม. จึงไดอนุมัติให สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ จัดตั้งสถานีรับสัญญาณดาวเทียมสํารวจทรัพยากร ขึ้นมาในปพ.ศ. 2523 เพื่อทำหนาที่ในการรับและผลิตขอมูลดาวเทียม นับเปนสถานีแหงแรกในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต โดยในปจจุบันกิจกรรมเหลานี้ไดโอนไปอยูภายใตหนวยงาน "สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) ซึ่งตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
ขอมูลที่ไดจากดาวเทียมสํารวจทรัพยากรเหลานี้ไดนําไปใชงานในการสํารวจและติดตาม
การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากร และสิ่งแวดลอม ในหลายสาขา อาทิเชน การใชที่ดิน การปาไม การเกษตร ธรณีวิทยา
อุทกวิทยา สมุทรศาสตรและสิ่งแวดลอม เปนตน
โดยหนวยงานที่เกี่ยวของไดรับการพัฒนา ทั้งทางดานบุคลากรและเครื่องมือ
เพื่อใหสามารถใชประโยชนจากขอมูลเหลานี้ไดอยางมีประสิทธิภาพ