การบันทึกขอมูลจากระยะไกล
สามารถแบงออกไดเปน 4 สวน ได้แก่
1. แหลงพลังงาน (Source) ที่เปนตนกําเนิดของพลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟามาจาก
สามแหลง คือ
พลังงานจากดวงอาทิตย การแผพลังงานความรอนจากพื้นผิวโลก และระบบ
บันทึกขอมูล
ในขณะที่มีการทํางานนั้นจะเกิดขบวนการ การแผรังสีความรอน (Radiation)
การนําความรอน (Conduction) และการพาความรอน (Convection)
2. ปฏิกิริยาที่มีตอพื้นผิวโลก เปนปริมาณของการแผรังสี
หรือการสะทอนพลังงาน
จากผิวโลก
ซึ่งจะมากหรือ นอยก็ขึ้นอยูกับชนิดของวัตถุบนพื้นโลก เนื่องจากวัตถุตางชนิดกัน
จะมีสมบัติในการสะทอนแสงและการสงพลังงานความรอนแตกตางกันในแตละชวง
คลื่นแม
เหล็กไฟฟา
ความแตกตางนี้สามารถนํามาใชประโยชนในการจําแนกประเภทของวัตถุตางๆ
3. ปฏิกิริยาที่มีตอบรรยากาศและเครื่องบันทึกขอมูล
พลังงานแมเหล็กไฟฟาที่ผาน
เขาไปในชั้นบรรยากาศจะถูกกระจัดกระจาย
(scatter) โดยธาตุองคประกอบของบรรยากาศ
ซึ่งมีอิทธิพลตอคุณภาพของภาพขอมูล
4. เครื่องวัดจากระยะไกล (remote sensor) หรือ
เครื่องบันทึกพลังงานที่สะทอนจาก
พื้นผิวของวัตถุ
เชน กลองถายรูป หรือเครื่องกวาดภาพ เปนตน เครื่องวัดนี้จะถูกติดตั้งไวใน
ยานสํารวจ (platform) ไดแกเครื่องบินหรือดาวเทียม
ในปจจุบันไดมีการพัฒนาเครื่องวัดชนิดใหม
ขึ้นมาใชอยางมากมายเพื่อใชงานเฉพาะเรื่อง
ซึ่งพอจะจําแนกประเภทเครื่องวัดได 2 ชนิดคือ
- การตรวจวัดแบบแพสซีฟ
(Passive RS) หรือ แบบเฉื่อย
เครื่องตรวจวัดในกลุ่มนี้ จะคอยวัดความเข้มของรังสีที่แผ่ออกมาจากวัตถุ
หรือ ของแสงอาทิตย์ที่สะท้อนออกมาจากตัววัตถุเท่านั้น แต่มันจะ ไม่มี
การสร้างสัญญาณขึ้นมาใช้เอง ตัวอย่างของอุปกรณ์ในกลุ่มนี้มีเช่น
พวกกล้องถ่ายภาพทางอากาศ หรือ เครื่องกวาดภาพของดาวเทียม Landsat เป็นต้น
- การตรวจวัดแบบแอกทีฟ
(Active RS) หรือ แบบขยัน
เครื่องตรวจวัดในกลุ่มนี้
จะวัดความเข้มของสัญญาณที่ตัวมันเอง สร้างและส่งออกไป
ซึ่งสะท้อนกลับมาจากตัววัตถุเป็นหลัก โดยอุปกรณ์สำคัญในกลุ่มนี้ ได้แก่ พวกเรดาร์ ไลดาร์ และ โซนาร์
ข้อมูลเพิ่มเติม
เครื่องตรวจวัด แบบเฉื่อย จะมีทั้งแบบที่วัดรังสีในช่วงคลื่นของแสงขาว (visible
light) อินฟราเรด (IR) และ ช่วงไมโครเวฟ (microwave) ในขณะที่เครื่องตรวจวัด แบบขยัน จะทำงานในช่วงไมโครเวฟเป็นหลัก